- ประวัติความเป็นมา
- โครงสร้างโรงพยาบาล
- วิสัยทัศน์-พันธกิจ-ค่านิยม
- ทำเนียบผู้บริหาร
- ภารกิจด้านอำนวยการ
- ภารกิจด้านวิชาการและการแพทย์
- ภารกิจด้านการพยาบาล
- ภารกิจด้านพัฒนาระบบสุขภาพ
- รูปแบบการเข้ารับการบำบัดรักษา
- อำนาจหน้าที่/นโยบาย
- E-Service SLA
- E-Service A-E
- แผนจัดซื้อจัดจ้าง
- แต่งตั้งงบประมาณ
- ภารกิจด้านการพยาบาล
- งานทรัพยากรบุคคล
- งานยุทธศาสตร์และแผนงาน
- กลุ่มงานเภสัชกรรม
- ศูนย์พัฒนาคุณภาพ (HA)
- ศูนย์ข้อมูลข่าวสาร
- PDPA-DMS TYRUD
- บัญชีรายการยาโรงพยาบาล
- แนวทางคลินิกเมทาโดน
- ระบบปรึกษาการแพทย์ทางไกล (DMS Telemedicine)
- ระบบรายงานความเสี่ยง HRMS
- ระบบแอฟห่วงใย
- DMS FAMILY
- ระบบส่งข้อมูล 43 แฟ้ม
- คู่มือประชาชน
- ดาวโหลดโลโก้โรงพยาบาล
- สื่อประชาสัมพันธ์อาเซียน
- เอกสารเผยแพร่/สื่อวิดิทัศน์
- ข่าวประชาสัมพันธ์
- ระบบโรงพยาบาล(HIS)
- คลังความรู้
- งานวิจัย
- สื่อแผ่นพับ
- โทรศัพท์ภายใน
- คำถามที่พบบ่อย Q&A
- ช่องทางร้องเรียน
- นโยบายความปลอดภัยอาชีวอนามัย
- พยาบาลจิตอาสา “ตอบปัญหา ยาเสพติด”
- คำสั่ง/ระเบียบ/โรงพยาบาล
- คำสั่ง/ ระเบียบ/สารสนเทศ
- แกลเลอรี
- ติดต่อเรา
- สถาบันบำบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติดแห่งชาติบรมราชชนนี
- ร.พ.ธัญญารักษ์แม่ฮ่องสอน
- ร.พ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่
- ร.พ.ธัญญารักษ์ขอนแก่น
- ร.พ.ธัญญารักษ์สงขลา
- ร.พ.ธัญญารักษ์ปัตตานี
- กรมการแพทย์
- กระทรวงสาธารณสุข
- เว็บบอร์ด
- สำรวจความพึงพอใจเว็บไซต์
- เกี่ยวกับเรา
- ผู้ดูแแลระบบ
-
ชื่อรายละเอียด
-
ขจร9 ปีที่แล้ว
การตรวจโควิด-19 ด้วยวิธี RT-PCR ดีอย่างไร?
Real-time PCR
(Real Time polymerase chain reaction) หรือเรียกสั้นๆ ว่า RT-PCR คือการตรวจหาเชื้อไวรัสโดยดูจากสารพันธุกรรม RNA ของไวรัสเป็นวิธีมาตรฐานสากล (Gold Standard) ใช้ตรวจตรวจหาเชื้อ COVID-19 โดยตรง เหมาะสำหรับการวินิจฉัยโรคในระยะเริ่มต้น และใช้ติดตามผลการรักษาได้วิธีตรวจคือ การใช้คอตตอนบัดสำหรับทำการ swab สอดเข้าทางโพรงจมูก ทิ้งไว้ประมาณ 2-3 วินาที เพื่อเก็บสารคัดหลั่งมาตรวจหาเชื้อไวรัส (Nasopharyngeal swab PCR)
RT-PCR เป็นวิธีที่องค์การอนามัยโลกแนะนำให้ใช้ เนื่องจากมีความไว ความจำเพาะสูง อีกทั้งผลตรวจมีความแม่นยำสูงกว่าวิธีอื่นๆ RT-PCR จึงเป็นที่นิยมและใช้กันอย่างแพร่หลายในหลายประเทศ รวมถึงประเทศไทยด้วย
ข้อดีของการตรวจแบบ Real-time PCR หรือ RT-PCR
- เป็นการตรวจหาเชื้อ COVID-19 โดยตรง และตรวจหาเชื้อได้แม่นยำ
- สามารถตรวจจับเชื้อไวรัสในปริมาณน้อยๆ ได้ รวมไปถึงตรวจจับได้ทั้งเชื้อเป็นและเชื้อตาย
- ทราบผลภายใน 24 – 48 ชั่วโมง
- ต้องตรวจห้อง Lab ที่ได้มาตรฐานเท่านั้น (กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์)
การตรวจโควิด-19 แบบ RT-PCR กับ Rapid Antigen และ Rapid Test ต่างกันอย่างไร?
การตรวจ COVID-19 โดยวิธี Rapid Antigen จะมีขั้นตอนคล้ายกับวิธี RT-PCR คือการ swab โพรงจมูก แต่วิธีนี้จะเป็นเพียงหยดด้วยน้ำยาเพื่อตรวจหาเชื้อ ซึ่งแตกต่างกับ RT-PCR ที่นำส่ง lab เพื่อไปทำวิธี PCR ซึ่งมีความละเอียดและผลลัพธ์ชัวร์กว่า Rapid Antigen มีข้อดีคือสะดวก แต่ผลตรวจนั้นไม่แน่นอน
ส่วน Rapid Test คือการเจาะเลือดบริเวณปลายนิ้ว ซึ่งวิธีนี้เป็นการตรวจเช็คภูมิต้านทานในร่างกายกาย (ค่า Igg / Igm) สามารถตรวจหาเชื้อและคัดกรองได้ในระดับนึงเท่านั้น และไม่ได้เป็นการตรวจหาเชื้อ COVID-19 โดยตรง
ข้อดีของ Rapid Test คือ ใช้งานง่าย สะดวก รู้ผลใน 15 นาที แต่ก็ยังมีข้อเสียคือ เสี่ยงต่อการแพร่เชื้อโรค/ไวรัส ได้ง่าย , ผลตรวจไม่มีความแม่นยำมากเพียงพอ ค่าผลตรวจอาจคลายเคลื่อนได้ รวมถึงจะตรวจ Rapid Test หาเชื้อได้ก็ต่อเมื่อ มีอาการป่วย 5 – 7 วัน หรือได้รับเชื้อมาแล้ว 10-14 วัน เป็นต้น
ซึ่ง แตกต่างจากการตรวจแบบ RT-PCR ที่เป็นการตรวจหาเชื้อ covid-19 โดยตรง ใช้เวลาเพียง 24 ชม. ก็ทราบผลที่แน่นอนและแม่นยำกว่า ซึ่งเป็นผลตรวจแล็บของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ (Department of Medical Sciences)
127.0.xxx.xxx ตอบกลับ